Hot Issues

sex workers
25 พฤศจิกายนของทุกปี ทั่วโลกจะรณรงค์ต่อต้านการยุติการความรุนแรงต่อผู้หญิง คุณนึกถึงใครบ้าง เด็กผู้หญิงที่โดนบังคับให้แต่งงาน ภรรยาที่ถูกสามีทำร้าย นักโทษหญิง แต่ยังมีคนอีกกลุ่มหนึ่งที่แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชันเนล ประเทศไทยอยากจะขอพูดถึง คือ พนักงานบริการ ที่ตกเป็นเหยื่อของความรุนแรง เช่นกัน
social warfare
หัวหน้า คสช.ใช้มาตรา 44 ของรธน.ชั่วคราว 2557 ยุบ กก.ประกันสังคมปัจจุบัน เพื่อการปฏิรูปประกันสังคม ในขณะที่ กม.ประกันสังคม เพิ่งแก้ไขใหม่ และจะมีการเลือกตั้งกก.ประกันสังคม ในต้นปีหน้า คำถามคือการใช้อำนาจครั้งนี้เป็นการปฏิรูปประกันสังคมจริงหรือ?
Democracy and Economic
ประชาธิปไตยจำเป็นต่อเศรษฐกิจแค่ไหน? ประเทศที่เป็นประชาธิปไตย มักมีการพัฒนาเศรษฐกิจที่ดี หรือการพัฒนาเศรษฐกิจที่ดี ต่างหากจึงจะนำไปสู่ประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง? คำถามเหล่านี้ อาร์ม ตั้้งนิรันดร นักวิชาการผู้ชื่นชอบประเด็นกฎหมายกับการพัฒนาตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจต่อประเด็นเหล่านี้ว่าอย่างไร? ชวนอ่าน  
minimg
เลิศศักดิ์ คำคงศักดิ์ โต้งแย้งบทความของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) เรื่องอำนาจจัดทำ‘แผนแม่บทบริหารจัดการแร่’ ในร่างพ.ร.บ.แร่ ชี้ถึงแม้จะมีแผนแม่บทก็ต้องยึดการแบ่ง Mining Zone เป็นหลัก ไม่อาจเขียนแผนแม่บทกระทบการแบ่ง Mining Zone ได้
กลุ่ม FTA Watch เรียกร้องไม่ให้รัฐบาลชั่วคราวตัดสินใจเข้าร่วม TPP
กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (FTA Watch) เรียกร้องให้สังคมไทยร่วมกันกดดันมิให้รัฐบาลชั่วคราวตัดสินใจเข้าร่วมใน TPP โดยอ้างเหตุผลเกี่ยวกับผลประโยชน์ของบางสินค้าและบางอุตสาหกรรม โดยมิได้พิจารณาผลกระทบต่อประชาชน ฐานทรัพยากร และอธิปไตยของประเทศ
twitter status
เว็บไซต์ประชามติชวนประชาชนร่วมกิจกรรม “รัฐธรรมนูญแบบไหนไม่เอาแล้ว?” ผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค ในวันที่ 11 ต.ค.58 ผลจากการสำรวจความเห็นพบว่า ส่วนใหญ่ ไม่เอารัฐธรรมนูญที่มาจากการร่างของคนกลุ่มเล็กๆ กลุ่มเดียวโดยประชาชนไม่มีส่วนร่วม และเบื่อหน่ายกับการร่างรัฐธรรมนูญแล้วถูกฉีกซ้ำๆ
Hashtag
กระแสรัฐธรรมนูญกลับมาอีกครั้ง ล่าสุดมีการจัดงานเสวนาหัวข้อ "รัฐธรรมนูญของปวงชนจากหลากหลายมิติ" โดยเชิญนักวิชาการจากหลายสาขามาสะท้อนมุมเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ขณะที่เว็บ Prachamati.org ก็เชิญชวนประชาชนติดแฮชแท็ก #ไม่เอาแล้ว เพื่อร่วมกันบอกว่ารัฐธรรมนูญแบบไหนที่ไม่เอาแล้ว?
จากปีนรั้วสภาถึง virtual sit-in
ผิดหรือไม่? ถูกหรือไม่? ที่พลเมืองเน็ตแห่กันเข้าเว็บไซต์ของรัฐจนเล่มนั้น จะเข้าข่ายปฏิบัติการที่เรียกว่า DDos attack แล้วจะผิดกฎมายตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ หรือเปล่า? หาคำตอบกับ อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล ผู้ประสานงานเครือข่ายพลเมืองเน็ตได้ที่นี้
The rainbow flag
เครือข่ายของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนตั้งข้อสังเกตว่า พ.ร.บ.ความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ.2558 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2558 อาจเป็นการ “ฟอกชมพู” ที่ดูเหมือนจะมีพัฒนาการทางความเท่าเทียมระหว่างเพศ แต่กลับมีส่วนที่ไม่คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอยู่
ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนออกความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญว่า "ไม่สอดคล้องกับอุดมการณ์รัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย" มีแต่จะทำให้รัฐบาลขาดเสถียรภาพ จำกัดอำนาจของผู้แทนประชาชน รวมไปถึงมีกลไกพิเศษยึดอำนาจอย่างชอบธรรม